วันพฤหัสบดีที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ครั้วที่ 13 วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554

สำหรับการเรียนในวันนี้

กิจกรรมที่จัดให้เด็กอ่านเงียบๆ ตามลำพัง การอ่านกับเพื่อนเป็นคู่ เป็นกลุ่มย่อยเพื่ออภิปรายรวมกัน ในการรับฟังและตรวจสอบความคิดเข้าใจซึ่งกันและกันโดยเฉพาะการอ่านในสิ่งที่ครู เด็กเขียนรวมกันหรือสิ่งที่เด็กเขียนขึ้นเอง นับได้ว่าเป็นการอ่านที่ดีที่สุด

ลักษญะสำคัญและกิจกรรมทางภาษาแบบองค์รวม

- เน้นความเข้าใจเนื้อเรื่องมากกว่าการท้องจำตัวหนังสือจากการฟังนิทาน เรื่องราวสนทนาโต้ตอบ คิด วิเคราะห์กับครูหรือผู้ใหญ่
- การคาดคะเน้นโดยการเลาในขณะอ่าน เขียน และ สะกด เป็นสิ่งที่ย้อมรับได้ในการเรียนรู้ภาษาธรรมชาติโดยไม่จำเป็นต้องอ่าวหรือสะกดถูกต้องทั้งหมด
- มีหนังสือ วัสดุ สิ่งพิมพ์ต่างๆให้เด็กได้เป็นผู้เลือกเพื่ได้รับประสบการณ์ทางภาษาอย่างหลากหลาย
- ครูแนะนำและสอนอ่านในกลุ่มที่ไม่ใหญ่มากโดยใช้หนังสือเล่มใหญ่ที่เห็นชัดเจนจนถั้วถึง
- ให้เด็กแบ่งกลุ่มเล็กๆผลัดกันอ่านให้อ่านออกเสียงดังๆ
- ครูสอนการอ่านอย่างมีความหมายด้วยความสนุกสนานในกลุ่มย่อย สอนให้รู้จักวิธีการใช้หนังสืออย่างถูกต้อง
- เปิดโอกาศให้เด็กได้พูดคุย ซักถามจากประสบการณ์เดิมซึ่งครูสามาสรถประเมินความสามารถการอ่านของเด็กแต่ละคนไปด้วยพร้อมกัน
- ให้เด็กแต่ละคนได้มีโอกาศได้เลือกอ่านหนังสือที่ชอบและยืมไปอ่านเงียบๆ
- ให้เด็กได้เขียน ขีดเขี่ย วาดภาพ ถ่ายทอดสิ่งที่เรียนรู้จากประสบการณ์ ความประทับใจ อย่างอิสระ
- ครูตรวจสอบวภาพการเขียน

ความเชื่อมโยงภาษาพูดกับภาษาเขียน
- ความรู้เกียวกับคำจะเพิ่มพรูมากขึ้นเมื่อเด็กได้เล่าหรือถ่ายทอดประสบการของตัวเอง
- จุดสำคัญการสงเสริมและพัฒนาภาษา คือ การที่ผู้ใหญ่อ่านหนังสือให้เด็กฟัง ในขณะที่ครูอ่านไปเด็กจะมองตามตัวหนัวสือและมักจะพยายามหาความหมายไปด้วยจากภาพหรือตัวหนังสือสื่งเป็นจุดเริ่มต้นของพฤติกรรมการอ่านหนังสือ
ขั้นแรก คำแรกที่เด็กอ่านเป็นคำที่มีความหมายต่อชีวิตเด็ก เช่น คน อาหารสิ่งที่อยู่รอบตัว
ขั้นที่สอง ผู้เรียนจะผูกพันกับตัวอักษรเพิ่มมากขึ้น เรียกชื่อได้ หรืออ่านได้ถุก และเรียนรู้ที่อยู่ของตัวอักษร
ขั้นที่สาม เริ้มแยกแยะตัวอักษร มีระเบียบแบบแผนของตัวอักษรและเริ้มจากซ้ายไปขวา
ขั้นสุดท้าย ระบบของตัวอักษร คือเป้าหมายสุดท้ายของการอ่าน

การรับรู้และพัฒนาการด้านภาษาเขียนก่อนเด็กไว้เรียน
- ระยะแรก เด็กใช้สัญลักษณ์ที่คิดขึ้นมาเองแทนตัวอักษร
- ระยะสอง การเขียนตัวอักษรที่แตกต่างกันสำรับคำพูดและคำพูดโดยมีลำดับและจำนวนตัวอักษรท่เขาคิดว่าเหมาะสม
- ระยะสาม เด็กเริ้มใช้สัญลักษณ์ใกล้เคียงกับอักษรจริง
การจัดสภาพแวดล้อม
- จัดให้สอดคล้องกัยเนื้อหาสาระและกิจกรรมโดยการจัดพื้นที่ใน้องเรียน ที่สามารถสนองความต้องการในการเรียนรู้ของเด็กที่มีความแตกต่างหลากหลายได้
- สร้างประสบการณ์และความพร้อมในการเรียนของแต่ละบุลคลหรือแต่ละกลุ่มตามความสนใจ
บรรยากาศในห้องเรียน
ก็ดี แต่มีบ่างคนคุยกันมากๆ เลยไม่ค่อยรู้เรื่องเท่าไร และยังมีเพื่อนกินของในห้องอีกด้วย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น