วันเสาร์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 15 วันที่ 15 กุภาพันธ์ 2554

สำหรับการเรียนในวันนี้ก็เป็นการเข้าเรียนวันสุดท้าย อาจารย์ก็ได้ให้นักศึกษาส่งงานที่ยังค้างทุกอย่างอยู่เอามาส่งและก็ได้ตรวจงานที่นักศึกษาส่งไปแล้วทั้งหมด และอาจารย์ก็ได้หนัดหมายเกี่ยวกับการสอบปลายภาคโดยได้หนัดหมายมาสอบในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 09.00 ที่ตึกคณะศึกษาศาสตร์

วันพฤหัสบดีที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 14 วันที่ 8 กุมภาพันธ 2554

1 วันนี้อาจารย์ให้นักสึกษาวัดความรู้ดังต่อไปนี้
- การจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนเป็นอย่างไร
- มุมที่ดีควรมีลักษณะอย่างไร
- มุมบ้าน
- มุมหมอ
- มุมร้านค้า
- มุมจราจร

2 ข้อคิดสำรับการสอนภาษา
- เริ้มจากตัวเด็กก่อน ไม่ว่าจะเป็นความพร้อมหรือความสนใจ
- สอนแบบธรรมชาติ
- สอนอย่างมีความหมาย
- สอนจากสิ่งที่เด็กได้พบเห็น หรือมีประสบการณ์มาก่อน
- สอนให้เด็กรู้สึกสนุกและอยากเรียน
- ให้โอกาศเด็กได้ใช้ภาษา
- เด็กอยากอ่านก้ควรให้อ่าน เด็กอยากเขียนก็ควรให้เขียน

3 เทคนิคที่ไม่ควรนำมาใช้ในการสอนภาษา
- เน้นความจำ
- เน้นการฝึก
- ใช้การทดสอบ
- สอนแต่ลักษณะแยกจากกัน
- การติตาเด็ก
- ใช้แบบฝึกที่เป็นกระดาษหรือดินสอเป็นจุดประ
- ไม่ยอมรับการผิดผลาด
- สอนภาษาเฉพาะในเวลาที่กำหนด
- ช่วงการสอนภาษาจะจำกัดเวลา
- จำกัดวัสดุอุปกรณ์อาจเหลือเพียง ดินสอ หนังสือแบบเรียน

4 เทดนิดที่ควรนำไปใช้ในการสอนภาษา
- สอนในสภาพแวดล้อมที่เป็นธรรมชาติ
- สอนสิ่งที่มีความหมายสำหรับเด็ก
- สอนจากสิ่งที่รู้ไปยังสิ่งที่ไม่รู้
- บรูณาการเข้ากับสาขาวิชาเรียน
- ให้โอกาศเด็กทุกคนในการเรียนภาษา
- ใช้ความคิดและถ้อยคำของเด้ก
- ยอมรัยการคาดเคาของเด็ก
- ให้โอกาศเด็กอย่างมากมาย
- จัดหาเครื่องใช้ต่างๆ
- ทำให้การเรียนหน้าสนใจ และสนุกสนาน

5 อาจารย์ให้นักศึกษาฟังเพลงเกาะสมุยแล้วให้นักศึกษาเขียนส่งดังนี้
- นักศึกษาฟังเพลงเกาะสมุยแล้วรู้สึกอย่างไร
- เนื้อเพลงเคาอยากจะบอกอะไร

6 บรรยากาศในห้อง ได้รับความรู้มากและเข้าใจง่าย ไม่หน้าเบื่อ

ครั้วที่ 13 วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554

สำหรับการเรียนในวันนี้

กิจกรรมที่จัดให้เด็กอ่านเงียบๆ ตามลำพัง การอ่านกับเพื่อนเป็นคู่ เป็นกลุ่มย่อยเพื่ออภิปรายรวมกัน ในการรับฟังและตรวจสอบความคิดเข้าใจซึ่งกันและกันโดยเฉพาะการอ่านในสิ่งที่ครู เด็กเขียนรวมกันหรือสิ่งที่เด็กเขียนขึ้นเอง นับได้ว่าเป็นการอ่านที่ดีที่สุด

ลักษญะสำคัญและกิจกรรมทางภาษาแบบองค์รวม

- เน้นความเข้าใจเนื้อเรื่องมากกว่าการท้องจำตัวหนังสือจากการฟังนิทาน เรื่องราวสนทนาโต้ตอบ คิด วิเคราะห์กับครูหรือผู้ใหญ่
- การคาดคะเน้นโดยการเลาในขณะอ่าน เขียน และ สะกด เป็นสิ่งที่ย้อมรับได้ในการเรียนรู้ภาษาธรรมชาติโดยไม่จำเป็นต้องอ่าวหรือสะกดถูกต้องทั้งหมด
- มีหนังสือ วัสดุ สิ่งพิมพ์ต่างๆให้เด็กได้เป็นผู้เลือกเพื่ได้รับประสบการณ์ทางภาษาอย่างหลากหลาย
- ครูแนะนำและสอนอ่านในกลุ่มที่ไม่ใหญ่มากโดยใช้หนังสือเล่มใหญ่ที่เห็นชัดเจนจนถั้วถึง
- ให้เด็กแบ่งกลุ่มเล็กๆผลัดกันอ่านให้อ่านออกเสียงดังๆ
- ครูสอนการอ่านอย่างมีความหมายด้วยความสนุกสนานในกลุ่มย่อย สอนให้รู้จักวิธีการใช้หนังสืออย่างถูกต้อง
- เปิดโอกาศให้เด็กได้พูดคุย ซักถามจากประสบการณ์เดิมซึ่งครูสามาสรถประเมินความสามารถการอ่านของเด็กแต่ละคนไปด้วยพร้อมกัน
- ให้เด็กแต่ละคนได้มีโอกาศได้เลือกอ่านหนังสือที่ชอบและยืมไปอ่านเงียบๆ
- ให้เด็กได้เขียน ขีดเขี่ย วาดภาพ ถ่ายทอดสิ่งที่เรียนรู้จากประสบการณ์ ความประทับใจ อย่างอิสระ
- ครูตรวจสอบวภาพการเขียน

ความเชื่อมโยงภาษาพูดกับภาษาเขียน
- ความรู้เกียวกับคำจะเพิ่มพรูมากขึ้นเมื่อเด็กได้เล่าหรือถ่ายทอดประสบการของตัวเอง
- จุดสำคัญการสงเสริมและพัฒนาภาษา คือ การที่ผู้ใหญ่อ่านหนังสือให้เด็กฟัง ในขณะที่ครูอ่านไปเด็กจะมองตามตัวหนัวสือและมักจะพยายามหาความหมายไปด้วยจากภาพหรือตัวหนังสือสื่งเป็นจุดเริ่มต้นของพฤติกรรมการอ่านหนังสือ
ขั้นแรก คำแรกที่เด็กอ่านเป็นคำที่มีความหมายต่อชีวิตเด็ก เช่น คน อาหารสิ่งที่อยู่รอบตัว
ขั้นที่สอง ผู้เรียนจะผูกพันกับตัวอักษรเพิ่มมากขึ้น เรียกชื่อได้ หรืออ่านได้ถุก และเรียนรู้ที่อยู่ของตัวอักษร
ขั้นที่สาม เริ้มแยกแยะตัวอักษร มีระเบียบแบบแผนของตัวอักษรและเริ้มจากซ้ายไปขวา
ขั้นสุดท้าย ระบบของตัวอักษร คือเป้าหมายสุดท้ายของการอ่าน

การรับรู้และพัฒนาการด้านภาษาเขียนก่อนเด็กไว้เรียน
- ระยะแรก เด็กใช้สัญลักษณ์ที่คิดขึ้นมาเองแทนตัวอักษร
- ระยะสอง การเขียนตัวอักษรที่แตกต่างกันสำรับคำพูดและคำพูดโดยมีลำดับและจำนวนตัวอักษรท่เขาคิดว่าเหมาะสม
- ระยะสาม เด็กเริ้มใช้สัญลักษณ์ใกล้เคียงกับอักษรจริง
การจัดสภาพแวดล้อม
- จัดให้สอดคล้องกัยเนื้อหาสาระและกิจกรรมโดยการจัดพื้นที่ใน้องเรียน ที่สามารถสนองความต้องการในการเรียนรู้ของเด็กที่มีความแตกต่างหลากหลายได้
- สร้างประสบการณ์และความพร้อมในการเรียนของแต่ละบุลคลหรือแต่ละกลุ่มตามความสนใจ
บรรยากาศในห้องเรียน
ก็ดี แต่มีบ่างคนคุยกันมากๆ เลยไม่ค่อยรู้เรื่องเท่าไร และยังมีเพื่อนกินของในห้องอีกด้วย

ครั้งที่ 12 วันที่ 25 มกราคม 2554

สำหรับในการเรียนวันนี้อาจารย์ได้ให้เพลงมาดังนี้

1 เพลง สวัสดี

สวัสดี สวัสดี สวัสดี ยินดีที่พบกับ

เธอและฉัน พบกันก็สวัสดี

2 เพลง ชื่อของเธอ

ชื่อของเธอฉันไม่รู้จัก ครูถามทักนักเรียนเข้าใหม่

ชื่อของเธอครูจำไม่ได้ ชื่ออะไรขอให้บอกมา

3 เพลง อย่าทิ้ง

อย่าทิ้ง อย่าทิ้ง อย่าทิ้ง ทิ้งแล้วมันสกปรก

ถ้าเราเห็นมันรก ต้องเก็บ ต้องเก็บ ต้องเก็บ

4 เพลง ตาและหู

ตาเรามีไว้ดู หูเรามีไว้ฟัง

เวลาครูสอนครูสัง ต้องตั้งใจฟัง ต้องตั้งใจดู ( ซ้ำ )

เนื้อหาที่เรียน

- ภาษาธรรมชาติ
- วิธีการสอนโดยองค์รวม
- โคมินิอูส

เด็กสามารถค้นพบข้อมูลใหม่ๆ ได้ด้วยการนำเสนอด้วยสิ่งที่เด็กคุนเคยในชีวิตอยู่แล้ว เด็กจะเข้าใจในสิ่งของที่เป็นรูปธรรมได้โดยการใช้ภาษาถิ่นหรือภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวันของเด็ก

กู๊ดแมน สมิส เมอร์ริดิช
ความรู้จะเกิดขึ้นอย่างพรั่งพรูจากกะบวนการเรียนรู้ และมีการพัฒนาภาษาพูด ภาษาเขียน ซึ่งครูจะเห็นได้ชัดเจนจากการที่เด็กๆ อาศัยภาษาในการแก้ปํญหา

จูดิท ดิวแมน
มีลักษณะเป็นปรัชญา ความคิดของผู้สอนโดยก่อตัวขึ้นจาก หลักการสอนที่ผู้สอนนำมาบรูณาการ การเรียนรู้ของเด็กเกิดขึ้นจากการปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมผ่านการเล่นซึ่งชวยให้เด็กเรียนรู้ภาษาจากกิจกรรมที่ทำรวมกันและรายบุคคน

ฮอลลิเดย์
บริบทที่สิ่งแวดล้อมในสถานการที่หลากหลายมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้และการใช้ภาษาของเด็ก

กู๊ดแมน
ภาษาเป็นเครื่องมือที่สำคัญสำหรับชีวิตเด็ก เด็กต้องเรียนรู้ภาษาและต้องใช้ภาษาเพื่อการเรียนรู้ ดังนั้นครูต้องตะหนักและให้ความสำคัญกับภาษากะบวนการ

บรรยากาศในห็องเรียน มีความรวมมือครูกับ ว่าจะทำอะไร ทำเมื่อไร และมีการว่างแผน

ครั้งที่ 11 วันที่ 18 มกราคม 2554

1 วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาทุกคนวาดภาพครอบครัวของฉันพร้อมกับบอกชื่อสมาชิกของครอบครับของแต่ละคน และอาจารย์ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มออกมาแสดงตามหัวข้อที่อาจารย์ให้ดังต่อไปนี้

- คำคล้องจอง
- หนูรู้สึกยังไง
- ครอบครัวของฉัน
- ฟังและปฏิบัติ
- คำตรงกันข้าม
- กระชิบต่อกัน
- วาดภาพแล้วนำมาเล่าเรืองต่อกัน
- วาดไปเล่าไป
- ร้องเพลง

2 วันนี้กลุ่มของเพื่อนได้ออกไปร้องเพลงว่าว พอนักศึกษาได้แสดงเสร็จอาจารย์ได้สรุปเกียวกับหัวข้อที่นักศึกษาแต่ละกลุ่ม ว่ามีประโยชน์อย่างไรบ้าง และให้นักศึกษาแสดงเหตุผลตามหัวข้อที่ได้ทำกจิกรรมไปถ้าใครทำเสร็จก็ให้วสง

3 ความรู้สึกในชั้นเรียนในวันนี้ สนุกมาก ได้ทำกิจกรรม ได้ดูเพื่อนทำ มีความสุกดีมาก

วันพุธที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 10 วันที่ 15 มกราคม 2554

1 อาจารย์ได้สอนเกียวกัยโครงสร้างของภาษา
- ระยะแยกแยะ อายุ 6 เดือนถึง 1 ปี ในระยะนี้ เด็กจะเริ้มแยกแยะสิ่งที่เข้าใจได้ยิน เช่น เสียงเรียกของพ่อแม่
- ระยะเรียนแบบ อายุ 1-2 ปี เสียงที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะเสียงของคนที่อยู่ใกล้ชิดเป็นเสียงที่เด็กวัยนี้สนใจและเริ่มเรียนแบบ เสียงที่เด็กเปล่งออกมาจะเริ่มมีความหมายและแสดงกิริตอบสนองการได้ยินผู้อื่น
- ระยะขยาย 2-4 ปี เด็กจะเริ่มหัดพูดโดยเปล่งเสียงออกมาเป็นคำ โดยระยะแรกจะพูดเรียกชื่อของคนที่อยู่รอบๆตัว
- ระยะโครงการ อายุ 4-5 ปี การรับรู้หรือการสังเกตของเด็กวันนี้ดีขึ้นมากชึ่งเด็กได้สังเกตการใช้ภาษาของบุกคนรอบข้าง และนำมาทดลองใช้เป็นประสบการณ์ที่เด็กได้รับ เช่น จากการฟังนิทาน การดูรายการโทรทัศน์ การเล่นกับเพื่อน หรือพี่น้อง การพูดคุยกับผู้ใหญ่ช่วยให้เด็กเก็บข้อมูลทางภาษาได้มากยิ้งขึ้น
- ระยะตอบสนอง อายุ 5-6 ปี ได้พัฒนาภาษา ได้พัฒนาคำศัพท์เพิ่มมากขึ้นรู้จักการใช้ประโยค เป็นระบบตามหลักไวยกรณ์
- ระยะสร้างสรรค์ ตั้งแต่อายุ 6 ปี ขึ้นไปเด็กสามารถพัฒนาภาษามากขึ้น สามารถจดจำภาษามากขึ้นในการพูด สามารถใช้ถ้อยคำสำนวนที่มีความหมายลึกซึ้งได้ เด็กจะพัฒนาวิเคราะสร้างสรรค์ทักษะทางภาษาได้สูง
- สรุป การเรียนภาษาเป็นกะบวนการต่อเนื่องเด็กจะเรียนรู้ภาษาและกฏเกตต่างๆ จากการฟังเสียง

ครั้งที่ 9 วันที่ 11 มกราคม 2554

1 วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษานำสมุดเล่มเล็กมาส่งพร้อมกับใบงานฉันชอบกิน จากนั้นอาจารย์ก็ได้ยกตัวอย่างผลงานของนักศึกษา พร้อมกับบอกข้อเสนอแนะของผลงานนักศึกษาแต่ละคนว่าเราควรทำสวนไหนเพิ่มเติม และสิ่งที่สำคัญ คือ ตัวหนัวสือควรเขียนให้มีหัว อ่านชัดเจน

2 จากนั้นอาจารย์ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มนำเสนอปริศนาคำท้ายให้เพื่อนในห้องฟัง และอาจารญ์ให้เพื่อนในห้องแสดงความคิดเห็นผลงานของเพื่อนว่ามีข้อดีไหม หรือข้อบกพร่องอะไรหรือเปล่า

3 อาจารย์ให้กลุ่มเพื่อนที่ไปรายงานให้นำปริศนาคำท้ายในวันนี้ไปเล่าให้เด็กฟังได้

4 อาจารยืให้นักศึกษาวิเคราะห์กิจกรรมส่งเสริมทักษะทางภาษาดังนี้
- โฆษณา
- ประสาสัมพันธ์
- ประกาศ
- ของรักของหวง
- เล่าเรื่องจากภาพ
- เล่าประสบการณ์

5 ความรู้ที่ได้ในวันนี้
- เด็กปกติทุกคนทั้วทุกแห่งสามารถเรียนภาษาในสังคมของตน เด็กจะมีความจำกัดสรรถภาพทางสมอง แต่อย่างไรก็ตามเด็กอายุสามถึงสี่ปีสามารถเรียนซัยซ่อนประโยคในภาษาของตนเองได้แล้ว
- ภาษามือมีอิธิพลต่อการเรียนรู้ของคนเรา ความคิดจะต้องใช้ภาษา เราต้องรู้ขอบเขตของภาาาในการกำหนดความคิดและการกระทำของตนเอง ภาษามีบทบาทหน้าที่อันสำคัญในกระบวนการพัฒนาทางด้านสติปัญญา คือการสร้างมโนทัศ
- ภาษาจะต้องมีการแสดงออกทางด้านการสื่ิอสาร เช่น การย้ำ ปฏิเสธ ร้องขอ
- ภาษามีความแตกต่างกันในหลายลักษณะ ไม่มีใครชอบเหมือนกันทุกอย่าง แต่ละคนมีภาษาพูดเป็นของตนเอง เรียกว่า ภาษาถิ่น